Wantana Suppaseemanont (วรรณทนา ศุภสีมานนท์)

Name : วรรณทนา ศุภสีมานนท์  
Wantana Suppaseemanont
Title : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
Assistant Professor, Dr.
Education : Ph.D. (Nursing), Saint Louis University, U.S.A.
Expertise : การพยาบาลมารดา-ทารก และการผดุงครรภ์
Contact Address : Faculty : พยาบาลศาสตร์ Nursing
Department : การพยาบาลมารดา-ทารก และการผดุงครรภ์ Maternal-Newborn Nursing and Midwifery
E-Mail : suppasee@gmail.comwantanas@go.buu.ac.th, wantanas@buu.ac.th

 

SCOPUSISI Web of ScienceResearchesArticles

12780367700

Scopus is the largest abstract and citation database of research literature and quality web sources. Quick, easy and comprehensive, Scopus provides superior support of the literature research process. Scopus is updated everyday.

Author(s):Suppaseemanont, W.
Publication year: 2006
Journal / Book title: MCN The American Journal of Maternal/Child Nursing

Access all results for your search in Scopus
Posted: October 16, 2020, 9:26 am
  1. By: Suppaseemanont, W
    MCN-THE AMERICAN JOURNAL OF MATERNAL-CHILD NURSING   Volume: 31   Issue: 1   Pages: 10-15  Published: JAN-FEB 2006

ปีงบประมาณ 2561

  1. การพัฒนาเครื่องมือคัดกรองความรุนแรงจากคู่ในสตรี
  2. พฤติกรรมการรังแกผู้อื่นและการตกเป็นเหยื่อการรังแกผ่านโลกไซเบอร์ของนิสิตพยาบาล

ปีงบประมาณ 2560

  1. ความปลอดภัยในการทำงาน พฤติกรรมสุขภาพด้านความปลอดภัยในการทำงาน และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านความปลอดภัยในการทำงาน ของหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานอุตสาหกรรม เขตชายฝั่งทะเลตะวันออก ประเทศไทย

ปีงบประมาณ 2564

  1. พฤติกรรมการรังแกผู้อื่่นและการตกเป็นเหยื่่อการรังแกผ่านโลกไซเบอร์ของนิสิตพยาบาล
  2. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมหนักของหญิงตั้งครรภ์ที่อาศัยในเขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด

ปีงบประมาณ 2563

  1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
  2. ผลของโปรแกรมการป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะซ้ำต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ 
  3. ผลของโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดครั้งแรก
  4. ปัจจัยที่มีผลต่อการฝากครรภ์คุณภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น 
  5. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการฝังยาคุมกําาเนิดต่อความรู้และการใช้ยาฝังคุมกําาเนิดของวัยรุ่นหลังคลอด

ปีงบประมาณ 2562

  1. ความปลอดภัยในการทำงานและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานที่ปลอดภัยของหญิงตั้งครรภ์ ที่ทำงานอุตสาหกรรมเขตชายฝั่งทะเลตะวันออกประเทศไทย 
  2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนดเข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด
  3. ผลของโปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้ลูกบอลต่อความเจ็บปวดและระยะเวลาปากมดลูกเปิดเร็วในผู้คลอดครรภ์แรก
  4. Consumption of Folic Acid Supplement and High Dietary Folate among Nepalese Women during Preconception and Pregnancy in Association with Premature Birth: A Case-Control Study
  5. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตั้งครรภ์ซ้ำอย่างรวดเร็วของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
  6. Factors Influencing Stress among Mothers of Preterm Infant Hospitalized in Neonatal Intensive Care Unit
  7. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ยาฝังคุมกำเนิดภายหลังคลอดในมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก 
  8. ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเผชิญการเจ็บครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์หลัง

ปีงบประมาณ 2561

  1. อิทธิพลของการรับรู้ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ ความรู้ และทัศนคติต่อพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์
  2. อิทธิพลของการได้รับข้อมูล การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคต่อพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของสามีก่อนภรรยาตั้งครรภ์
  3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลด้านสุขภาพทางอินเตอร์เน็ตของหญิงตั้งครรภ์
  4. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์ที่เคยสูญเสียบุตร

ปีงบประมาณ 2560

  1. PRECONCEPTION HEALTH BEHAVIORS AND ASSOCIATED FACTORS OF BHUTANESE PREGNANT WOMEN ATTENDING ANTENATAL CARE CLINIC OF NATIONAL REFERRAL HOSPITAL 
  2. EFFECTS OF THE EDUCATION AND FAMILY SUPPORT PROGRAM ON WOMEN WITH MATERNITY BLUES
  3. ผลของโปรแกรมการเตรียมครอบครัวในการสนับสนุนการคลอดต่อการรับรู้ความสามารถของครอบครัวและความพึงพอใจของผู้คลอด
  4. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ครั้งแรกที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์
  5. ความตรงเชิงโครงสร้างและความสอดคล้องภายในของแบบสอบถามคุณภาพชีวิตในขณะตั้งครรภ์ฉบับภาษาไทย 
  6. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเผชิญการเจ็บครรภ์คลอด ต่อคะแนนความเจ็บปวดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดครั้งแรก
  7. แบบจำลองเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตของหญิงตั้งครรภ์

ปีที่ตีพิมพ์ 2559

  1. ผลลัพธ์ของการตัดฝีเย็บตามกิจวัตรกับการตัดฝีเย็บเท่าที่จำเป็นในผู้คลอดครั้งแรก
  2. Knowledge and attitude towards preconception care among health professional students in a university Vietnam
  3. FACTORS PREDICTING POSTPARTUM DEPRESSION AMONG WOMEN IN HAI PHONG CITY VIETNAM

ปีที่ตีพิมพ์ 2558

  1. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของตนเองต่อการรับรู้ความสามารถและการควบคุมตนเองระหว่างการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก

ปีที่ตีพิมพ์ 2557

  1. Factors Predicting Contraceptive Use among Women Seeking Induced Abortion in Dhaka Bangladesh 

ปีที่ตีพิมพ์ 2556

  1. ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและการจัดการกับความเครียดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น